Nouns ( Subject - Verb Agreement )
หลักการใช้กริยาให้สอดคล้องกับประธาน
1. ประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเป็นเอกพจน์ ประธานเป็นพหูพจน์ กริยาเป็นพหูพจน์Jane lives in China. เจนอาศัยอยู่ในประเทศจีน2. กรณีมีประธาน 2 ตัว เชื่อมด้วย and โดยปกติถือเป็นพหูพจน์ กริยาจึงอยูในรูปพหูพจน์ Jean and David are moving back to Australia. เจนและเดวิด กำลังจะย้ายกลับไปประเทศออสเตรเลีย3. กรณีมีประธาน 2 ตัว เชื่อมด้วย and แด่นำมาใช้โดยคิดเป็นหน่วยเดียวกัน ใช้กริยาเป็นเอกพจน์ Bread and butter has been my breakfast for years. ขนมปังและเนยเป็นอาหารมื้อเช้าของฉันมาหลายปีแล้ว
4. ประธานที่มีคำนามมากกว่า 1 และเชื่อมด้วย and หากเป็นคนหรือสิ่งเดียวกัน จะมี article ที่ประธานตัวหน้าแห่งเดียว
หากเป็นคนละคนกันจะมี article ที่คำนามทั้งสอง เช่น
5.ประธานที่มีวลีหรือคำขยายต่อไปนี้ต่อท้าย จะใช้กริยาเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์นั้น ต้องยึดการใช้กริยาตามประธานตัวหน้าเป็นหลัก
6, ประโยคหรือวลีที่ขยายประธาน ไม่มีผลต่อการใช้กริยาของประธาน
7.คำต่อไปนี้ถือเป็นเอกพจน์ เมื่อมาเป็นประธานของประโยค ต้องใช้กริยาเอกพจน์เสมอ ได้แก่
8.ประธานซึ่งเชื่อมด้วยคำต่อไปนี้ กริยาถือตามประธานตัวหลัง
9, คำ Indefinite Pronouns ต่อไปนี้ถ้าใช้แทนคำนามนับได้ ถือเป็นพหูพจน์เสมอ
10.การใช้วลีบอกปริมาณ
|
วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
Subject-Verb Agreement
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น